วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2554
หลักการฝึกวอลเลย์บอล
--------------------------------------------------------------------------------
การฝึกวอลเลย์บอลสำหรับผู้หัดเล่นใหม่ ๆ นั้นจะต้องเริ่มจากง่ายไปยาก เพื่อผู้ฝึกเล่นใหม่จะได้มีความ
สามารถในการเล่นเกมได้เป็นอย่างดี การฝึกขั้นพื้นฐานจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับนักกีฬาที่ปรารถนาจะเป็น
นักกีฬาที่มีความสามารถในการเล่นเกม การฝึกจะก่อให้เกิดประโยชน์โดยสมบูรณ์ ซึ่งมีลำดับการฝึกอยู่
3 ขั้นตอน
1. การเตรียมตัวก่อนเล่น
2. การฝึกทักษะเบื้องต้น
3. การฝึกเป็นทีม
การเตรียมตัวก่อนเล่น
การเตรียมตัวก่อนเล่น (Warm up) ผู้เล่นจำเป็นต้องอบอุ่นร่างกายก่อน
เพื่อให้เกิดความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจก่อนจะเล่นลูกบอล โดยให้กล้ามเนื้อทุกส่วนของ
ร่างกายรู้ตัวก่อนมีการยืดหยุ่นพอประมาณ การเคลื่อนไหวของเท้า (Foot Work) เป็นรากฐานที่
ช่วยรักษาความมั่นคงในการทรงตัวมีความสำคัญในการเล่นวอลเลย์บอลมาก
วิธีปฏิบัติ ไปทางซ้าย
1. ยืนให้เท้าทั้งสองข้องขนานกัน ย่อเข่าและก้มตัวลงไปข้างหน้าเล็กน้อย
2. ก้าวเท้าซ้ายไปทางซ้ายของลำตัวด้านข้าง 1 ก้าว ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้ายใน จังหวะเดียวกัน ก้าวเท้าซ้าย
ออกไปอีกหนึ่งก้าว
3. ทำซ้ำ ข้อ 2 ไปเรื่อย ๆ
วิธีปฏิบัติ ไปทางขวา
วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับไปทางซ้าย แก่ให้ก้าวเท้าไปทางขวาแทน
วิธีปฏิบัติ ไปข้างหน้า
1. ยืนให้เท้าใดเท้าหนึ่งอยู่ข้างหน้า เท้าทั้งสองห่างกันพอสบาย ย่อเข่าและก้มลำตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
2. ก้าวเท้าหน้าไปข้างหลัง 1 ก้าว ก้าวเท้าหลังชิดเท้าหน้า (โดยให้ปลายเท้าหลังแตะส้นเท้าหน้า ใน
จังหวะเดียวกันก้าวเท้าหน้าไปข้างหน้าอีก 1 ก้าว
วิธีปฏิบัติ ไปข้างหลัง
วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับไปข้างหน้า แต่ให้ถอนเท้าไปข้างหลังแทน (โดยให้ส้นเท้าหน้าแตะปลายเท้าหลัง)
ข้อแนะนำ การก้าวเท้าหนึ่งชิดอีกเท้าหนึ่งต้องทำอย่างรวดเร็วในลักษณะสืบเท้าตาย
การบริหารร่างกายก่อนการฝึกซ้อมกีฬาวอลเลย์บอลเพื่อให้ได้ทั้งความเร็วและความอดทน สามารถทำได้
หลายวิธี เช่น
ลำดับของการบริหารร่างกาย (ตัวอย่างสำหรับผู้เล่นชาย)
1. วิ่งโยกตัวสลับเท้าซ้าย-ขวา
2. ย่อและกระโดดขึ้น
3. ก้าวด้านหน้าไปทางซ้าย
4. ม้วนตัวไปทางซ้าย
5. ย่อและกระโดดหมุนตัว
6. ก้าวด้านข้างไปทางขวา
7. ม้วนตัวไปทางขวา
8. กระโดดเข่าตีอก 3 ครั้ง
9. กลับหลังหันพุ่งตัว
10. กระโดดเท้าชิด และเท้าแยก สลับกันไปข้างหน้า 5 ครั้ง
11. ก้มถอยหลังใช้นิ้วมือแตะพื้นระยะทางประมาณ 3 เมตร
12. นอนหงาย
13. กระโดดมือแตะปลายเท้า
14. นอนคว่ำ
15. กระโดดแอ่นหลัง
16. พุ่งไปด้านหน้า
17. กระโดดสลับฟันปลา 2 เท้า ถอยหลัง 6 ครั้ง
18. กระโดดกระต่าย 5 ครั้ง
19. ม้วนหลัง 2 ครั้ง
20. ทำล้อเกวียนไปทางซ้าย
21. พุ่งไปทางซ้าย
22. ทำล้อเกวียนไปทางขวา
23. พุ่งไปทางขวา
ทั้ง 23 รายการดังกล่าวใช้เวลาประมาณ 35-50 นาที ติดต่อกัน
การบริหารร่างการก่อนเลิก
1. วิ่งธรรมดา
2. วิ่งเหยาะ ๆ
3. ขยับให้เส้นสายหย่อน
4. บริหารให้กล้ามเนื้อคลายความตรึงเครียด
5. บริหารโดยการหายใจเข้าออกให้สัมพันธ์กับท่าที่บริหาร
การฝึกเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับลูกวอลเลย์บอล เพื่อให้ประสาทตาและร่างกายส่วนที่จะใช้สัมผัสกับ
ลูกบอล ให้เกิดความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันอย่างสมบูรณ์ ไม่ว่าลูกบอลจะอยู่ในลักษณะใดก็ตามที่เราสามารถ
ที่จะเคลื่อนตัวไปยังจุดที่ลูกบอลจะตกลงได้และสามารถที่จะใช้มือบังคับให้ไปในทิศทางที่ต้องการโดยที่
ไม่ผิดกติกา
วิธีปฏิบัติ ท่านั่ง
1. ให้ลูกบอลอยู่ระหว่างขาแล้วยกขาขึ้นเป็นรูปตัว "วี" หมุนขาไปรอบ ๆ
2.ให้ลูกบอลอยู่ระหว่างขาแล้วก้มให้ศรีษะแตะพื้น พ้นคอกับคาง กลิ้งม้วนตัวไปข้างหน้า
3. นอนราบกับพื้นให้ลูกบอลอยู่ในระหว่างขาใช้ขาหนีบบอลยกมาแตะศรีษะ
4. นอนราบมือจับลูกบอล กลิ้งไปข้าง ๆ
5. นั่งส่งลูกบอลด้วยเท้า
6. นั่งขวางลูกบอล ส่งลูกบอลระดับอก ขว้างลูกบอลข้ามตัว
7. นั่งเลี้ยงลูกบอลลอดขาตัวเอง
วิธีปฏิบัติ ท่ายืน
1. ส่งลูกบอลหมุนรอบขาให้เป็นเลข 8
2. ส่งลูกบอลรอบตัวให้เป็นวงกลม
3. ขว้างลูกบอลไปข้างหลังโดยผ่านช่องขาข้างล่าง
4. กระโดดโดยมีลูกบอลอยู่ระหว่างขา
5. จับลูกใต้ขาสลับกัน
6. จับลูกใต้ขาขณะก้าวเดิน
7. ส่งลูกบอลลอดขาไปข้างหลังให้ลูกบอลข้ามศรีษะตัวเอง
วิธีปฏิบัติ การเปลี่ยนตำแหน่งและท่าทางต่าง ๆ ของผู้ฝึก
1. กลิ้งลูกบอลไปทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง ระหว่างขา
2. เคลื่อนที่เป็นจังหวะโดยกระโดดหรือสืบเท้าไปข้างซ้าย ข้างขวา แล้วกลิ้งตัว
3. ใช้มือเดียวโยนลูกบอลขึ้นแล้วจับลูกบอล
4. ใช้มือตีลูกบอลทางด้านข้าง (สันมือ) คล้ายตีเทนนิส ทั้งมือซ้ายและมือขวา
5. วิ่งใช้มือเลี้ยงลูก (เคาะลูกบอล)
6. ใช้หัวโหม่งลูกบอลแล้วพุ่งตัวลง (หมอบลง)
การฝึกความคล่องตัวในการเล่นวอลเลย์บอลของนักกีฬานั้นจะเป็นเครื่องช่วยให้นักกีฬามีความเหมาะสม
ที่จะเป็นนักกีฬาที่มีความสามารถได้เป็นอย่างดี
การส่งลูกบอล
1. ส่งลูกด้วยมือล่าง
2. ส่งลูกด้วยมือบน หรือการส่งลูกผ่าน
3. การเสิร์ฟ
การรับลูกบอล
1.รับลูกบอลจากการรุกของคู่ต่อสู้ (ตบหรือหยอด)
2. การรับลูกเสิร์ฟ
3. การสกัดกั้นลูกบอล
การตบลูก
1. ตบลูกเป็นมุมแหลมลงในแดนคู่ต่อสู้
2. ตบลูกเพื่อส่งลูกข้ามตาข่าย
ประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา
ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี
ประวัติวอลเล่ย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา
ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี
วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554
วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554
FIVB World Cup
The FIVB World Cup is a men's and women's volleyball competition. Created in 1965 (men) and 1973 (women), it is an international qualification event for the Olympic Games. It is not to be confused with the FIVB World Championship or the FIVB World League/FIVB World Grand Prix.
Origins
The World Cup was created in 1965 with the purpose of partially filling the gap between the two most important volleyball tournaments, the Olympic Games and the World Championship, which take place in alternating 4-year cycles. The establishment of a third international competition would leave only one in every four years with no major events.
The World Cup was to be held in the year following the Olympic Games. The first two tournaments were for men's volleyball only; in 1973, awomen's tournament was also introduced. Originally, each tournament had a different host, but in 1977 the competition was transferred to Japan on a permanent basis.
In the 1990s, the installment of annual international events such as the World League and the Grand Prix made the original motivations for the creation of the World Cup obsolete. Instead of letting a consolidated event disappear for lack of interest, the FIVB decided to change its format in 1991: it would be held in the year preceding, and not following, the Olympic Games; and it would be considered a first international Olympic qualification tournament, granting the winner a direct berth in the games.
This move saved the competition. The possibility of securing an early berth for the Olympic Games, thus avoiding extraneous and in some cases tight continental qualification procedures, became a consistent motivation for the national federations to participate in the World Cup. In 1995, the number of Olympic spots granted at the competition was increased to three, as it remains up to now (2005).
Winners (Women)
The Women's World Cup has had not one great winner, like its counterpart for men's volleyball, but two: Cuba and China.
The first edition of the tournament was won by the Soviet Union. Japan, the runner-up of 1973, took the gold in 1977. With the help of superstar player Lang Ping, China won the following two editions, in 1981 and 1985.
Then Cuba stepped forward to begin its amazing World Cup career, winning its first title in 1989. With the tournament now as an Olympic qualifier, there followed three more consecutive victories, in 1991, 1995 and 1999.
China came back in 2003 with a remarkably offensive team to win its third title.
Finally Italy won the 2007 edition with an outstanding record of eleven wins in eleven games and only two sets left to the opponents (both lost against Serbia).
Competition formula
The World Cup is the most stable from all competition formulas employed by the FIVB. The following rules apply:
The competition takes place in Japan.
Twelve teams participate in each event: ten qualified, two per invitation.
Japan is always pre-qualified as host nation.
Five continental champions are qualified plus the best four continental vice-champions according to the FIVB ranking.
The remaining two teams participate through wild cards granted by the FIVB.
Since the 1999 edition, only teams not yet qualified for the following Olympic Games can compete in the World Cup.
The competition is divided in exactly two phases (called "legs").
Teams are divided in two pools.
At the first leg, each team plays one match against all other teams in its pool.
At the second leg, each team plays one match against all the teams in the other pool.
Matches take place continuously through two weeks, with one-day breaks every two or three days. Each day, six matches are played.
Final standings are calculated by usual volleyball criteria: number of wins, point ratio (the total number of points won divided by the total number of points lost), set ratio, direct
confrontation.
Top three teams in overall standings, regardless of pools, qualify for the following Olympic Games.
The tournament implements very tight line-up restrictions: only twelve players are allowed, and no replacement is permitted, even in the case of injuries.
Source: http://en.wikipedia.org/wiki/FIVB_World_Cup
Ten of 12 Men's World Cup teams confirmed
Ten of 12 Men's World Cup teams confirmed |
2011-10-01 18:18:00 From:AVC |
Lausanne, Switzerland, September 30, 2011 – Ten of the 12 teams due to compete at the FIVB Volleyball Men's World Cup 2011 - the first qualifying event for volleyball at the 2012 Olympic Games - have been determined following the completion of the Africa and Asia continental championships on Thursday. The two wildcard teams will be announced by the FIVB on Tuesday. The qualifying process for the tournament due to be held in Japan from November 20 to December 4 consists of the hosts being joined by the five continental championship winners, the best four out of the five runners up and two wildcards. FIVB Volleyball Men's World Cup 2011 Qualified Teams
Asia champions Iran, runners up China and Africa winners Egypt joined defending champions and South America champions Brazil and silver medalists Argentina, NORCECA title holders Cuba and runners up USA and Europe champions Serbia and silver medalists Italy at the World Cup after a spectacular final day at their respective continental tournaments. World Cup hosts Japan qualify automatically. On the final day of the Men's African Nations Championship in Tangier, Morocco, Egypt saw off Cameroon 3-1 (20-25, 28-25, 25-20, 25-22) in the final. Cameroon still had a narrow chance of qualifying for the World Cup as one of the four best Continental championship runners-up, however Iran's first ever AVC title – courtesy of a 3-1 (22-25, 25-18, 25-19, 25-16) win over China in front of their home fans in Tehran - booked their ticket to Japan. With the four highest continental runners-up being decided via the FIVB Men's Senior World Ranking as it stood on January 15, Cameroon narrowly missed out as they sat six places below their Asian counterparts. Cuba were the first team to join hosts Japan at the World Cup as they held off USA on September 3 in a thrilling NORCECA Championship final, winning 3-2 (25-23, 29-27, 25-27, 19-25, 15-8). USA were also guaranteed World Cup qualification thanks to their world ranking of five. Focus then turned to Europe as Serbia sealed a come-from-behind 3-1 (17-25, 25-20, 25-23, 26-24) victory over Italy on September 18 to clinch their first ever European Championship title. But Italy qualified in similar fashion to USA as their position in the standings meant they also earned a ticket to Japan. Brazil picked up gold at the South American Championship to become the next side to directly qualify for the World Cup as they saw off long-time rivals Argentina 3-1 (25-20, 19-25, 25-23, 25-21) on September 25. Defending champions Brazil as well as USA, Argentina, Japan and Egypt are the only five teams to return to the World Cup after competing in the 2007 edition. China and Italy return after participating in 2003, with Serbia also returning after competing as Serbia and Montenegro in 2003. Meanwhile, Cuba are welcomed back for the first time since 1999 and Iran return after a 20-year absence, their last outing coming in 1991. The 10 teams for the FIVB Volleyball Women's World Cup are expected to be announced on Monday following the completion of the European and South America continental championships on Sunday. The Drawing of Lots for the men's and women's World Cup, where the medalists will earn a coveted berth at the London 2012 Olympic Games, will take place in Tokyo, Japan on Wednesday. The 12 teams will be split into two pools of six, with each competing against each other in the first and second rounds before facing off against teams in the opposite group in the third and fourth rounds. The FIVB Volleyball Men's World Cup 2011 will be its 11th edition having been established in 1965. It became a qualifying event for the Olympic Games in 1991 ahead of the Barcelona Games and since then has been traditionally the first Olympic Games qualifying event for volleyball. Russia/USSR have been the most successful team, clinching gold in 1965, 1977, 1981, 1991 and 1999. Brazil have two titles to their name, winning in 2003 and 2007, while Italy, Cuba and East Germany have all won the title once. Since 1977 Japan has proudly hosted the competition and, as a result, are the only team to have competed in every edition, their best finish coming in both 1969 and 1977 when they claimed the silver medal. |