วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2554

หลักการฝึกวอลเลย์บอล

หลักการฝึกวอลเลย์บอล

--------------------------------------------------------------------------------


การฝึกวอลเลย์บอลสำหรับผู้หัดเล่นใหม่ ๆ นั้นจะต้องเริ่มจากง่ายไปยาก เพื่อผู้ฝึกเล่นใหม่จะได้มีความ
สามารถในการเล่นเกมได้เป็นอย่างดี การฝึกขั้นพื้นฐานจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับนักกีฬาที่ปรารถนาจะเป็น
นักกีฬาที่มีความสามารถในการเล่นเกม การฝึกจะก่อให้เกิดประโยชน์โดยสมบูรณ์ ซึ่งมีลำดับการฝึกอยู่
3 ขั้นตอน
1. การเตรียมตัวก่อนเล่น
2. การฝึกทักษะเบื้องต้น
3. การฝึกเป็นทีม

การเตรียมตัวก่อนเล่น
การเตรียมตัวก่อนเล่น (Warm up) ผู้เล่นจำเป็นต้องอบอุ่นร่างกายก่อน
เพื่อให้เกิดความพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจก่อนจะเล่นลูกบอล โดยให้กล้ามเนื้อทุกส่วนของ
ร่างกายรู้ตัวก่อนมีการยืดหยุ่นพอประมาณ การเคลื่อนไหวของเท้า (Foot Work) เป็นรากฐานที่
ช่วยรักษาความมั่นคงในการทรงตัวมีความสำคัญในการเล่นวอลเลย์บอลมาก

วิธีปฏิบัติ ไปทางซ้าย
1. ยืนให้เท้าทั้งสองข้องขนานกัน ย่อเข่าและก้มตัวลงไปข้างหน้าเล็กน้อย
2. ก้าวเท้าซ้ายไปทางซ้ายของลำตัวด้านข้าง 1 ก้าว ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้ายใน จังหวะเดียวกัน ก้าวเท้าซ้าย
ออกไปอีกหนึ่งก้าว
3. ทำซ้ำ ข้อ 2 ไปเรื่อย ๆ

วิธีปฏิบัติ ไปทางขวา
วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับไปทางซ้าย แก่ให้ก้าวเท้าไปทางขวาแทน

วิธีปฏิบัติ ไปข้างหน้า
1. ยืนให้เท้าใดเท้าหนึ่งอยู่ข้างหน้า เท้าทั้งสองห่างกันพอสบาย ย่อเข่าและก้มลำตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
2. ก้าวเท้าหน้าไปข้างหลัง 1 ก้าว ก้าวเท้าหลังชิดเท้าหน้า (โดยให้ปลายเท้าหลังแตะส้นเท้าหน้า ใน
จังหวะเดียวกันก้าวเท้าหน้าไปข้างหน้าอีก 1 ก้าว

วิธีปฏิบัติ ไปข้างหลัง
วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับไปข้างหน้า แต่ให้ถอนเท้าไปข้างหลังแทน (โดยให้ส้นเท้าหน้าแตะปลายเท้าหลัง)

ข้อแนะนำ การก้าวเท้าหนึ่งชิดอีกเท้าหนึ่งต้องทำอย่างรวดเร็วในลักษณะสืบเท้าตาย
การบริหารร่างกายก่อนการฝึกซ้อมกีฬาวอลเลย์บอลเพื่อให้ได้ทั้งความเร็วและความอดทน สามารถทำได้
หลายวิธี เช่น
ลำดับของการบริหารร่างกาย (ตัวอย่างสำหรับผู้เล่นชาย)
1. วิ่งโยกตัวสลับเท้าซ้าย-ขวา
2. ย่อและกระโดดขึ้น
3. ก้าวด้านหน้าไปทางซ้าย
4. ม้วนตัวไปทางซ้าย
5. ย่อและกระโดดหมุนตัว
6. ก้าวด้านข้างไปทางขวา
7. ม้วนตัวไปทางขวา
8. กระโดดเข่าตีอก 3 ครั้ง
9. กลับหลังหันพุ่งตัว
10. กระโดดเท้าชิด และเท้าแยก สลับกันไปข้างหน้า 5 ครั้ง
11. ก้มถอยหลังใช้นิ้วมือแตะพื้นระยะทางประมาณ 3 เมตร
12. นอนหงาย
13. กระโดดมือแตะปลายเท้า
14. นอนคว่ำ
15. กระโดดแอ่นหลัง
16. พุ่งไปด้านหน้า
17. กระโดดสลับฟันปลา 2 เท้า ถอยหลัง 6 ครั้ง
18. กระโดดกระต่าย 5 ครั้ง
19. ม้วนหลัง 2 ครั้ง
20. ทำล้อเกวียนไปทางซ้าย
21. พุ่งไปทางซ้าย
22. ทำล้อเกวียนไปทางขวา
23. พุ่งไปทางขวา

ทั้ง 23 รายการดังกล่าวใช้เวลาประมาณ 35-50 นาที ติดต่อกัน

การบริหารร่างการก่อนเลิก
1. วิ่งธรรมดา
2. วิ่งเหยาะ ๆ
3. ขยับให้เส้นสายหย่อน
4. บริหารให้กล้ามเนื้อคลายความตรึงเครียด
5. บริหารโดยการหายใจเข้าออกให้สัมพันธ์กับท่าที่บริหาร

การฝึกเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับลูกวอลเลย์บอล เพื่อให้ประสาทตาและร่างกายส่วนที่จะใช้สัมผัสกับ
ลูกบอล ให้เกิดความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันอย่างสมบูรณ์ ไม่ว่าลูกบอลจะอยู่ในลักษณะใดก็ตามที่เราสามารถ
ที่จะเคลื่อนตัวไปยังจุดที่ลูกบอลจะตกลงได้และสามารถที่จะใช้มือบังคับให้ไปในทิศทางที่ต้องการโดยที่
ไม่ผิดกติกา

วิธีปฏิบัติ ท่านั่ง
1. ให้ลูกบอลอยู่ระหว่างขาแล้วยกขาขึ้นเป็นรูปตัว "วี" หมุนขาไปรอบ ๆ
2.ให้ลูกบอลอยู่ระหว่างขาแล้วก้มให้ศรีษะแตะพื้น พ้นคอกับคาง กลิ้งม้วนตัวไปข้างหน้า
3. นอนราบกับพื้นให้ลูกบอลอยู่ในระหว่างขาใช้ขาหนีบบอลยกมาแตะศรีษะ
4. นอนราบมือจับลูกบอล กลิ้งไปข้าง ๆ
5. นั่งส่งลูกบอลด้วยเท้า
6. นั่งขวางลูกบอล ส่งลูกบอลระดับอก ขว้างลูกบอลข้ามตัว
7. นั่งเลี้ยงลูกบอลลอดขาตัวเอง

วิธีปฏิบัติ ท่ายืน
1. ส่งลูกบอลหมุนรอบขาให้เป็นเลข 8
2. ส่งลูกบอลรอบตัวให้เป็นวงกลม
3. ขว้างลูกบอลไปข้างหลังโดยผ่านช่องขาข้างล่าง
4. กระโดดโดยมีลูกบอลอยู่ระหว่างขา
5. จับลูกใต้ขาสลับกัน
6. จับลูกใต้ขาขณะก้าวเดิน
7. ส่งลูกบอลลอดขาไปข้างหลังให้ลูกบอลข้ามศรีษะตัวเอง

วิธีปฏิบัติ การเปลี่ยนตำแหน่งและท่าทางต่าง ๆ ของผู้ฝึก
1. กลิ้งลูกบอลไปทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง ระหว่างขา
2. เคลื่อนที่เป็นจังหวะโดยกระโดดหรือสืบเท้าไปข้างซ้าย ข้างขวา แล้วกลิ้งตัว
3. ใช้มือเดียวโยนลูกบอลขึ้นแล้วจับลูกบอล
4. ใช้มือตีลูกบอลทางด้านข้าง (สันมือ) คล้ายตีเทนนิส ทั้งมือซ้ายและมือขวา
5. วิ่งใช้มือเลี้ยงลูก (เคาะลูกบอล)
6. ใช้หัวโหม่งลูกบอลแล้วพุ่งตัวลง (หมอบลง)

การฝึกความคล่องตัวในการเล่นวอลเลย์บอลของนักกีฬานั้นจะเป็นเครื่องช่วยให้นักกีฬามีความเหมาะสม
ที่จะเป็นนักกีฬาที่มีความสามารถได้เป็นอย่างดี

การส่งลูกบอล
1. ส่งลูกด้วยมือล่าง
2. ส่งลูกด้วยมือบน หรือการส่งลูกผ่าน
3. การเสิร์ฟ

การรับลูกบอล
1.รับลูกบอลจากการรุกของคู่ต่อสู้ (ตบหรือหยอด)
2. การรับลูกเสิร์ฟ
3. การสกัดกั้นลูกบอล

การตบลูก
1. ตบลูกเป็นมุมแหลมลงในแดนคู่ต่อสู้
2. ตบลูกเพื่อส่งลูกข้ามตาข่าย

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

ประวัติวอลเล่ย์บอล

ประวัติวอลเล่ย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554

2011 FIVB Women's World Cup


Thais wait Wild Card.

Spartans ready for Club World champs battle Ottawa, Canada, October 4, 2011 – The Trinity Western University Spartans, Canadian Interuniversity Sport

FIVB World Cup

FIVB World Cup

The FIVB World Cup is a men's and women's volleyball competition. Created in 1965 (men) and 1973 (women), it is an international qualification event for the Olympic Games. It is not to be confused with the FIVB World Championship or the FIVB World League/FIVB World Grand Prix.

Origins
The World Cup was created in 1965 with the purpose of partially filling the gap between the two most important volleyball tournaments, the Olympic Games and the World Championship, which take place in alternating 4-year cycles. The establishment of a third international competition would leave only one in every four years with no major events.

The World Cup was to be held in the year following the Olympic Games. The first two tournaments were for men's volleyball only; in 1973, awomen's tournament was also introduced. Originally, each tournament had a different host, but in 1977 the competition was transferred to Japan on a permanent basis.

In the 1990s, the installment of annual international events such as the World League and the Grand Prix made the original motivations for the creation of the World Cup obsolete. Instead of letting a consolidated event disappear for lack of interest, the FIVB decided to change its format in 1991: it would be held in the year preceding, and not following, the Olympic Games; and it would be considered a first international Olympic qualification tournament, granting the winner a direct berth in the games.

This move saved the competition. The possibility of securing an early berth for the Olympic Games, thus avoiding extraneous and in some cases tight continental qualification procedures, became a consistent motivation for the national federations to participate in the World Cup. In 1995, the number of Olympic spots granted at the competition was increased to three, as it remains up to now (2005).

Winners (Women)
The Women's World Cup has had not one great winner, like its counterpart for men's volleyball, but two: Cuba and China.

The first edition of the tournament was won by the Soviet Union. Japan, the runner-up of 1973, took the gold in 1977. With the help of superstar player Lang Ping, China won the following two editions, in 1981 and 1985.

Then Cuba stepped forward to begin its amazing World Cup career, winning its first title in 1989. With the tournament now as an Olympic qualifier, there followed three more consecutive victories, in 1991, 1995 and 1999.

China came back in 2003 with a remarkably offensive team to win its third title.

Finally Italy won the 2007 edition with an outstanding record of eleven wins in eleven games and only two sets left to the opponents (both lost against Serbia).

Competition formula
The World Cup is the most stable from all competition formulas employed by the FIVB. The following rules apply:

The competition takes place in Japan.

Twelve teams participate in each event: ten qualified, two per invitation.

Japan is always pre-qualified as host nation.

Five continental champions are qualified plus the best four continental vice-champions according to the FIVB ranking.

The remaining two teams participate through wild cards granted by the FIVB.

Since the 1999 edition, only teams not yet qualified for the following Olympic Games can compete in the World Cup.

The competition is divided in exactly two phases (called "legs").

Teams are divided in two pools.

At the first leg, each team plays one match against all other teams in its pool.

At the second leg, each team plays one match against all the teams in the other pool.

Matches take place continuously through two weeks, with one-day breaks every two or three days. Each day, six matches are played.

Final standings are calculated by usual volleyball criteria: number of wins, point ratio (the total number of points won divided by the total number of points lost), set ratio, direct
confrontation.

Top three teams in overall standings, regardless of pools, qualify for the following Olympic Games.

The tournament implements very tight line-up restrictions: only twelve players are allowed, and no replacement is permitted, even in the case of injuries.

Source: http://en.wikipedia.org/wiki/FIVB_World_Cup

Ten of 12 Men's World Cup teams confirmed

Ten of 12 Men's World Cup teams confirmed
2011-10-01 18:18:00 From:AVC

Lausanne, Switzerland, September 30, 2011 – Ten of the 12 teams due to compete at the FIVB Volleyball Men's World Cup 2011 - the first qualifying event for volleyball at the 2012 Olympic Games - have been determined following the completion of the Africa and Asia continental championships on Thursday. The two wildcard teams will be announced by the FIVB on Tuesday.

The qualifying process for the tournament due to be held in Japan from November 20 to December 4 consists of the hosts being joined by the five continental championship winners, the best four out of the five runners up and two wildcards.

FIVB Volleyball Men's World Cup 2011 Qualified Teams

TeamQualification Method World Ranking as of Jan 15, 2011
Japan Hosts14
BrazilSouth American Championship winner1
SerbiaEurope Championship winner3
CubaNORCECA Championship winners4
USANORCECA Championship runners up5
ItalyEurope Championship runners up6
ArgentinaSouth American Championship runners up8
ChinaAsia Championship runners up11
EgyptAfrica Championship winner13
IranAsia Championship winner19

Asia champions Iran, runners up China and Africa winners Egypt joined defending champions and South America champions Brazil and silver medalists Argentina, NORCECA title holders Cuba and runners up USA and Europe champions Serbia and silver medalists Italy at the World Cup after a spectacular final day at their respective continental tournaments. World Cup hosts Japan qualify automatically.

On the final day of the Men's African Nations Championship in Tangier, Morocco, Egypt saw off Cameroon 3-1 (20-25, 28-25, 25-20, 25-22) in the final. Cameroon still had a narrow chance of qualifying for the World Cup as one of the four best Continental championship runners-up, however Iran's first ever AVC title – courtesy of a 3-1 (22-25, 25-18, 25-19, 25-16) win over China in front of their home fans in Tehran - booked their ticket to Japan. With the four highest continental runners-up being decided via the FIVB Men's Senior World Ranking as it stood on January 15, Cameroon narrowly missed out as they sat six places below their Asian counterparts.

Cuba were the first team to join hosts Japan at the World Cup as they held off USA on September 3 in a thrilling NORCECA Championship final, winning 3-2 (25-23, 29-27, 25-27, 19-25, 15-8). USA were also guaranteed World Cup qualification thanks to their world ranking of five.

Focus then turned to Europe as Serbia sealed a come-from-behind 3-1 (17-25, 25-20, 25-23, 26-24) victory over Italy on September 18 to clinch their first ever European Championship title. But Italy qualified in similar fashion to USA as their position in the standings meant they also earned a ticket to Japan.

Brazil picked up gold at the South American Championship to become the next side to directly qualify for the World Cup as they saw off long-time rivals Argentina 3-1 (25-20, 19-25, 25-23, 25-21) on September 25.

Defending champions Brazil as well as USA, Argentina, Japan and Egypt are the only five teams to return to the World Cup after competing in the 2007 edition. China and Italy return after participating in 2003, with Serbia also returning after competing as Serbia and Montenegro in 2003. Meanwhile, Cuba are welcomed back for the first time since 1999 and Iran return after a 20-year absence, their last outing coming in 1991.

The 10 teams for the FIVB Volleyball Women's World Cup are expected to be announced on Monday following the completion of the European and South America continental championships on Sunday.

The Drawing of Lots for the men's and women's World Cup, where the medalists will earn a coveted berth at the London 2012 Olympic Games, will take place in Tokyo, Japan on Wednesday. The 12 teams will be split into two pools of six, with each competing against each other in the first and second rounds before facing off against teams in the opposite group in the third and fourth rounds.

The FIVB Volleyball Men's World Cup 2011 will be its 11th edition having been established in 1965. It became a qualifying event for the Olympic Games in 1991 ahead of the Barcelona Games and since then has been traditionally the first Olympic Games qualifying event for volleyball. Russia/USSR have been the most successful team, clinching gold in 1965, 1977, 1981, 1991 and 1999. Brazil have two titles to their name, winning in 2003 and 2007, while Italy, Cuba and East Germany have all won the title once. Since 1977 Japan has proudly hosted the competition and, as a result, are the only team to have competed in every edition, their best finish coming in both 1969 and 1977 when they claimed the silver medal.

รักมากมายนายภูมิ




วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2554

Japan beat Thailand at Asian men's Volleyball Championship

Japan beat Thailand at Asian men's Volleyball Championship
2011-09-22 13:30:00 From:AVC
Tehran, Iran, September 21, 2011 – Defending champions Japan defeated Thailand 3-0 (25-20, 25-23, 25-16) in Pool C of the preliminary round of the 16th Asian Senior Men's Volleyball Championship at Azadi Hall No. 1 on Wednesday.
Thailand opened the first set on a strong note scoring three consecutive points but Tatsuya Fukuzawa's two consecutive attacks from the back row and a defensive stop easily jolted the Thai lead. Japan's blocking significantly improved as it stopped the Thai attacks from entering the Japanese side and improved their score at 8-3 onto the first TTO.
Thailand have somehow remedied their attacking problems and came back in the set with just a three point deficit. Takahiro Yamamoto provided Japan with smart drop shots. Japan's relaxed offense and good court movement provided them the 25-20 win.
Japan got its real challenge in the second set as Thailand came with a pestering attacking scheme that only allowed Japan to win 25-23.
Japan's struggle in the previous set can still be traced from their movement even with their substantial lead. Thailand's persevering offense could be attributed to the longer rallies in the third set.
Japan tried to shake off its second set blunders from Fukuzawa and Yamamoto's heroics and the excellent defence displayed by their libero Takeshi Nagano. Japan never looked back and controlled the duration of the third set with a 25-16 win.

http://www.asianvolleyball.org

Japan beat Thailand at Asian men's Volleyball Championship

Japan beat Thailand at Asian men's Volleyball Championship
2011-09-22 13:30:00 From:AVC

Tehran, Iran, September 21, 2011 – Defending champions Japan defeated Thailand 3-0 (25-20, 25-23, 25-16) in Pool C of the preliminary round of the 16th Asian Senior Men's Volleyball Championship at Azadi Hall No. 1 on Wednesday.
Thailand opened the first set on a strong note scoring three consecutive points but Tatsuya Fukuzawa's two consecutive attacks from the back row and a defensive stop easily jolted the Thai lead. Japan's blocking significantly improved as it stopped the Thai attacks from entering the Japanese side and improved their score at 8-3 onto the first TTO.
Thailand have somehow remedied their attacking problems and came back in the set with just a three point deficit. Takahiro Yamamoto provided Japan with smart drop shots. Japan's relaxed offense and good court movement provided them the 25-20 win.
Japan got its real challenge in the second set as Thailand came with a pestering attacking scheme that only allowed Japan to win 25-23.
Japan's struggle in the previous set can still be traced from their movement even with their substantial lead. Thailand's persevering offense could be attributed to the longer rallies in the third set.
Japan tried to shake off its second set blunders from Fukuzawa and Yamamoto's heroics and the excellent defence displayed by their libero Takeshi Nagano. Japan never looked back and controlled the duration of the third set with a 25-16 win.


http://www.asianvolleyball.org

วันเสาร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2554

China beat Japan to win Asian Women’s C'ship and earn World Cup spot

China beat Japan to win Asian Women’s C'ship and earn World Cup spot


China celebrate after beating Japan in the final of Asian Women's Volleyball Championship on Friday

Taipei, September 23, 2011 – China added another gem to their extensive collection of gold medals in the Asian Women’s Volleyball Championship with a thrilling 3-1 (25-16, 25-17, 25-27, 25-17) victory over Japan in the title match of the 16th edition Friday evening at Taiwan University Gymnasium.

In the bronze-medal match, Korea won a five-set thriller (22-25, 26-24, 23-25, 27-25, 15-13) over defending champions Thailand.

The Championship doubled as a qualifier for both the FIVB Women's World Cup 2011 and the FIVB World Grand Prix 2012. China, as champions, will move onto the World Cup in Japan, while hosts Japan qualify automatically. Bronze medallists Korea still have a chance to go to Japan if their world ranking is higher than the runners-up in other continental championships.

Korea and Thailand – in addition to Japan and China – also earned spots in next year's World Grand Prix.

China’s Wang Yimei was named the Most Valuable Player of the tournament, while teammates Yang Junjing and Wei Qiuyue were voted Best Blocker and Best Server, respectively.

It was China’s 12th Asian crown.

Final
China 3, Japan 1

China defeated Japan in a dramatic 3-1 (25-16, 25-17, 25-27, 25-17) thriller to enhance their position as the most prolific winners of the tournament.

The Chinese relied on effective blocks, strong attacks and killing serves as they cruised through the first two sets with little resistance from Japan. In the third set, China continued to have the upper hand until 22-19 when Japan fought back and took the set as China touched the net twice. Although Japan led in the early stages of the fourth set, China rallied with solid blocks and relentless spikes, taking the set, the match and the title.

Wing spiker Wang Yimei and Hui Ruoqi led China with 18 points apiece, while Best Blocker Yang Jujing added 12 points. Ma Yunwen and Zhang Lei contributed 11 points each. Saori Kimura paced Japan with 19 points, while Saori Sakoda and Risa Shinnabe both contributed seven points. China out-blocked Japan 15-4 and held a 4-3 service ace advantage. In attacks the champions had the edge 52-49 and made 21 errors to 30 by Japan.

Bronze-medal match
Korea 3, Thailand 2

World No. 10 Korea rallied twice to beat defending champions Thailand in a very close five-setter (22-25, 26-24, 23-25, 27-25, 15-13) to take the bronze medal.

Korea ace Kim Yeon Koung topped all scorers with an impressive 38 points –37 spikes and one block – followed by Kim Hee Jin with 19 points. Jung Dae Young and Yoon Hye Suk added 12 and 11, respectively. Thailand’s fierce spiker Onuma Sittirak gained 26 points for her team, followed by captain Wilavan Apinyapong with 22 and T. Pleumjit with 16. Korea held the advantage in blocks (8-5) while Thailand held an 10-5 advantage in service aces. In attacks, Korea had the edge 81-76 and made 19 errors compared with 21 by Thailand.

Fifth-place playoff
Chinese Taipei 3, DPR Korea 1

Hosts Chinese Taipei came back from losing the first set to outplay DPR Korea 3-1 (17-25, 25-17, 25-20, 25-18), claiming fifth place in the tournament, one position higher than in the last edition.

Five Chinese Taipei players reached double figures: Lin Chun Yi (18 points from 13 spikes, four blocks and a service point), Chen Wan Ting and Tsai Yin Feng (16 each), Liao Wan Ju (13, including five big serves) and captain Teng Yen Ming (10). Top DPR Korea player Jong Jin Sim again impressed the spectators with 19 points, followed by Kim Yong Mi with 12 points.

Seventh-place playoff
Vietnam 3, Iran 1

Vietnam claimed seventh place by beating Iran in four sets (25-14, 25-23, 18-25, 25-11).

Vietnam’s P.T.K. Kue scored a match-high 21 points – 18 from spikes, two from serves and one block – while captain N.T.N. Hoa and P.T. Yen contributed 17 and 11, respectively. For Iran, the top scorer was Z. Giveh with 14 points, followed by B. Niazi and P. Zare with 11 each.

On Thursday, Kazakhstan defeated Australia in straight sets (26-24, 25-14, 25-21) to secure ninth place, while India knocked down Sri Lanka 3-1 (25-18, 19-25, 25-13, 25-19) to finish in 11th place.

Final positions: 1. China, 2. Japan, 3. Korea, 4. Thailand, 5. Chinese Taipei, 6. DPR Korea, 7. Vietnam, 8. Iran, 9. Kazakhstan, 10. Australia, 11. India, 12. Sri Lanka, 13.Indonesia.

Individual awards: MVP: Wang Yimei (China), Best Scorer: Kim Yeon Koung (Korea); Best Spiker: Kim Yeon Koung; Best Blocker: Yang Junjing (China); Best Server: Wei Quiyue (China); Best Setter: Yoshie Takeshita (Japan); Best Libero: Nam Jie Youn (Korea).

จากคุณ หลุมศพสำหรับเธอ_AV131+TS28 thailandsusu.com ต้องยกให้เป็นกระแสสุดๆในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา สำหรับทัพตบลูกยางสาวไทย ที่แม้ว่าจะไม่สามารถป้องกันแชมป์เอเชียไว้ได้ แต่พวกเธอก็โชว์ฟ

จากคุณ หลุมศพสำหรับเธอ_AV131+TS28 thailandsusu.com


ต้องยกให้เป็นกระแสสุดๆในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา สำหรับทัพตบลูกยางสาวไทย ที่แม้ว่าจะไม่สามารถป้องกันแชมป์เอเชียไว้ได้ แต่พวกเธอก็โชว์ฟอร์มได้ชนะใจแฟนๆกีฬาชาวไทยทั่วทั้งประเทศ พร้อมคว้าอันดับ 4 มาครองปลอบใจ และหากใครยังคงรู้สึกอินกับผลงานสาวๆ วันนี้ จึงขอรวบรวม 10 ปรากฏการณ์ "วอลเลย์ฟีเว่อร์" มาให้ได้ประทับใจกันอีกครั้ง

1. หยุดงาน หยุดการ เพื่อมาเชียร์ ลูกยางสาวไทย

ช่วงรอบแรกอาจยังไม่เท่าไร แต่ พอเข้ารอบสอง และรอบน็อกเอ้าท์ ตั้งแต่ไทย พบกับ ไต้หวัน เจ้าภาพ ไม่ว่าจะเดินเหินไปไหน เราก็จะเห็นหน้าจอโทรทัศน์ส่วนใหญ่ ชมเกมการถ่ายทอดวอลเลย์สาวไทย ในสถานที่ต่างๆ เรียกได้ว่า งานการที่ทำคั่งค้าง หยุดหมด หรือถึงแม้จะทำไปด้วย ดูไปด้วย แต่ก็คงไม่มีสติสตางค์เท่าไร สู้หันมาเอาใจช่วยพวกเธอเต็มร้อยดีกว่า งานนี้ เจ้านายหลายท่านก็ยอมเปิดไฟเขียวให้เต็มที่เหมือนกัน

2. ช่วยกระจายข่าวโปรแกรม,ตาราง, ลิงก์ถ่ายทอดสด

สมัยก่อน การติดตามการแข่งขันหรือผลกีฬาวอลเลย์แต่ละที มันช่างยากเย็นแสนเข็ญเสียเหลือเกิน แต่ตอนนี้ มีผู้หวังดีกันหลายเจ้า อาสาอุตสาห์ขุดโปรแกรม, ตาราง รวมถึง นำลิงก์ดูสดออนไลน์มาให้แฟนตบลูกยางได้ดูกัน แม้บางครั้ง จะต้องไปแอบดูจากช่องเคเบิล ของเพื่อนบ้านก็ตามที ขนาดที่ช่องของประเทศไทย กว่าจะตื่นก็ต้องรอจนเสียงเรียกร้องของแฟนๆทะลักล้นจอ ถึงจะยื่นมือเข้ามาถ่ายทอดสดให้พวกเราได้ชมกันเต็มๆเสียที อย่างไรก็ตาม อย่างน้อย หวังว่าในอนาคต เราจะผู้ใจดีอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ

3. เคลิ้มไปกับสาวหล่อ-สาวสวย แต่ละชาติ

แน่นอนว่า 4 ห้องหัวใจของแฟนวอลเลย์ชาวไทย มอบให้พวกเธอทุกคนอยู่แล้ว แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า ผู้เล่นอีกหลายๆชาติในทัวร์นาเมนต์ครั้งนี้ ทั้งรูปร่าง หน้าตา เห็นแล้วมันน่าหยิก หน้าหยอกไม่น้อย โดยเฉพาะสาวจากญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ที่ถูกอกถูกใจ หนุ่มๆสาวๆ อย่างเราคนเอเชียกันหลายนาง นอกจากนี้ ฝีมือการตบของพวกเธอก็เด็ดขาดฉกาจฉกรรจ์อีกด้วย

4. บ่นเสียดายความสูงเป็นรองคู่แข่ง

อีกหนึ่งปัจจัยที่มีส่วนสำคัญไม่น้อยที่ทำให้ทีมวอลเลย์สาวไทยไปไม่ถึงดวงดาว ส่วนหนึ่งก็มาจากความสูงเฉลี่ยของผู้เล่น ที่เป็นรองคู่ต่อสู้บิ๊กอย่างๆ จีน, เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น หากพูดในเรื่องของฝีไม้ลายมือ รับรองว่า สาวไทยไม่เป็นรองใครอยู่แล้ว แต่ประเด็นเรื่องความสูง น่าจะเป็นตัวแปรที่ทำให้ความแตกต่างเกิดขึ้นไม่มากก็น้อย และนำไปสู่การตั้งคำถามว่า ทำไม ผู้เล่นเก่งๆ ร่างกายสูงๆ เฉลี่ยสัก 190 ซม. ของไทย มันถึงหายากเหมือนงมเข็มในมหาสมุทรซะเหลือเกิน นึกแล้วก็อดสงสารดีเอ็นเอเตี้ย-สั้น ของผองเราชาวไทยเสียจริงๆ

5. ชื่นชมลีลาสำนวนการพากษ์ของคุณพิษณุ นิลกลัด

เชื่อได้ว่า กระแสวอลเลย์บูมในครั้งนี้ ส่วนหนึ่งก็มาจากการพากษ์เกมที่ได้อรรถรส เร้าใจจากพิธีกร ผู้ประกาศข่าว จอมเก๋าผู้นี้ ซึ่งทำให้แฟนๆได้เพลิดเพลินไปกับเกม และสำนวนที่เฉียบคม แปลกใหม่ ไม่มีใครเหมือน อย่างเช่น ลูกตบโอท็อป ซึ่งจะใช้เรียกลูกตบของ ปลื้มจิตร์ ถินขาว หรือ ดูเกมอย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูกรรมการด้วย ใช้ตอนที่การตัดสินของกรรมการค้านสายตาในจังหวะที่กำกึ่ง หรือ ห้ามเลือด ใช้ในสถานการณ์ที่สกอร์ทีมไหลให้กับคู่ต่อสู้ต่อเนื่อง เป็นต้น

6. ถึงแพ้แต่ก็ชนะใจคนดู

เป็นอีกหนึ่ง วลีเด็ด ที่แฟนกีฬาเกือบทั้งหมด แสดงต่อ ทีมลูกยางสาวไทย ยามใดคว้าชัยชนะได้ ก็นับว่าเป็นเรื่องน่ายินดี แต่หากยามใด ต้องประสบพบกับความพ่ายแพ้ พวกเราก็จะกล่าวให้กำลังใจพวกเธอตลอดมา เพราะผลงานที่เราเห็น มันไม่สามารถที่จะตำหนิสาวๆและทีมงานทุกคนได้เลย ทุกคนสู้กันอย่างเต็มที่ เต็มกำลัง และนั่นทำให้เรายังคงให้การสนับสนุนพวกเธอต่อไป ไม่ว่าผลการแข่งขันจะออกมาเป็นเช่นไรก็ตาม

7. ดันลีกอาชีพบูมเหมือนฟุตบอล

ขนาดกีฬาฟุตบอล ที่ไม่เคยแม้จะไปถึงระดับโลก หรือแค่ระดับเอเชีย ก็คางเหลืองเต็มที่ ยังได้รับความนิยมอย่างล้นหลาม สำหรับ ศึกลูกหนังไทยพรีเมียร์ลีก ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา แล้วทำไม กีฬาวอลเลย์บอล ที่ประสบความสำเร็จมากอย่างมากมาย จะผลักดันลีกให้ได้รับความนิยมเหมือนอย่างฟุตบอลบ้างไม่ได้ ดังนั้น แฟนกีฬาหลายคน หมายมั่นปั่นมือว่า ต่อจากนี้ ศึกวอลเลย์บอลลีกอาชีพ ที่เริ่มตั้งไข่มาได้ปีสองปี จะเป็นรูปเป็นร่าง และทำให้วอลเลย์บอล กลายเป็นอีกหนึ่ง กีฬาที่คนไทย ติดตามชมไม่แพ้ฟุตบอล บ้างเหมือนกัน


8. เตรียมรวมพลไปรับสาวๆ ที่สุวรรณภูมิ

ไม่เพียงแค่แฟนคลับ แต่สาวกของทีมวอลเลย์สาวไทย ทั้งมีสังกัด และไม่มีสังกัด ก็เริ่มระดมพลพรรค พรรคพวก เดินทางไปต้อนรับ ฮีโร่ของเรา กันที่สนามบิน สุวรรณภูมิ ในวันเสาร์ที่ 24 ก.ย.นี้ เวลา ราวๆ 5 ทุ่ม กันแล้ว และเชื่อว่า ในคืนวันนั้น สนามบิน จะต้องแตก เพราะเสียงกรี๊ด เสียงเชียร์ ของแฟนๆกีฬาจะดังกึกก้องไปทั่วทั้งอาคารผู้โดยสารแน่นอน

9. ติดตามทัวร์นาเมนต์ต่อไป

แม้ว่าจะอดคว้าตั๋วไปลุย โอลิมปิกเกมส์ 2012 ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ หลังจากได้เพียงอันดับ 4 ศึกชิงแชมป์เอเชีย 2011 แต่ แฟนกีฬาก็ยังได้ตามลุ้นพวกเธอได้อีกครั้ง ในศึกวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์โลก 2011 ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ 8-14 ต.ค.นี้ จากนั้น ในปีหน้า ศึกเวิลด์กรังด์ ปรีซ์, คัดเลือกโอลิมปิก ที่ญี่ปุ่น และเอเชียน คัพ ก็ยังรออยู่ เรียกว่า ถ้ารักกันจริง ก็ต้องเอาใจช่วยกันต่อไป

10. แฟนกีฬาปลาบปลื้ม ในหลวงทอดพระเนตรเกมวอลเลย์สาวไทย

กลายเป็นที่กล่าวขวัญไปทั่ว หลังจากมีคนตาดีเห็นผู้เล่นทีมวอลเลย์หญิงของไทย โพสต์ข้อความเปิดเผยเหตุการณ์นี้ ที่สร้างความประทับใจและตื้นตันใจไปทั่วประเทศ ในเกมรอบรองชนะเลิศที่ สาวไทย พบกับ ญี่ปุ่น ก่อนพ่ายไปแบบชนะใจทุกคน 2-3 เซต และทำเอาถึงขนาดบางคน น้ำตาซึมกันเลยทีเดียว ไม่ใช่เพราะความปราชัย แต่เป็นเพราะซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านนั้นเอง

twitter : sport_thairath http://www.thairath.co.th/content/sport/204057

10 ปรากฏการณ์ 'วอลเลย์ฟีเว่อร์' อินไทยแลนด์

จากคุณ หลุมศพสำหรับเธอ_AV131+TS28 thailandsusu.com


ต้องยกให้เป็นกระแสสุดๆในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา สำหรับทัพตบลูกยางสาวไทย ที่แม้ว่าจะไม่สามารถป้องกันแชมป์เอเชียไว้ได้ แต่พวกเธอก็โชว์ฟอร์มได้ชนะใจแฟนๆกีฬาชาวไทยทั่วทั้งประเทศ พร้อมคว้าอันดับ 4 มาครองปลอบใจ และหากใครยังคงรู้สึกอินกับผลงานสาวๆ วันนี้ จึงขอรวบรวม 10 ปรากฏการณ์ "วอลเลย์ฟีเว่อร์" มาให้ได้ประทับใจกันอีกครั้ง

1. หยุดงาน หยุดการ เพื่อมาเชียร์ ลูกยางสาวไทย

ช่วงรอบแรกอาจยังไม่เท่าไร แต่ พอเข้ารอบสอง และรอบน็อกเอ้าท์ ตั้งแต่ไทย พบกับ ไต้หวัน เจ้าภาพ ไม่ว่าจะเดินเหินไปไหน เราก็จะเห็นหน้าจอโทรทัศน์ส่วนใหญ่ ชมเกมการถ่ายทอดวอลเลย์สาวไทย ในสถานที่ต่างๆ เรียกได้ว่า งานการที่ทำคั่งค้าง หยุดหมด หรือถึงแม้จะทำไปด้วย ดูไปด้วย แต่ก็คงไม่มีสติสตางค์เท่าไร สู้หันมาเอาใจช่วยพวกเธอเต็มร้อยดีกว่า งานนี้ เจ้านายหลายท่านก็ยอมเปิดไฟเขียวให้เต็มที่เหมือนกัน

2. ช่วยกระจายข่าวโปรแกรม,ตาราง, ลิงก์ถ่ายทอดสด

สมัยก่อน การติดตามการแข่งขันหรือผลกีฬาวอลเลย์แต่ละที มันช่างยากเย็นแสนเข็ญเสียเหลือเกิน แต่ตอนนี้ มีผู้หวังดีกันหลายเจ้า อาสาอุตสาห์ขุดโปรแกรม, ตาราง รวมถึง นำลิงก์ดูสดออนไลน์มาให้แฟนตบลูกยางได้ดูกัน แม้บางครั้ง จะต้องไปแอบดูจากช่องเคเบิล ของเพื่อนบ้านก็ตามที ขนาดที่ช่องของประเทศไทย กว่าจะตื่นก็ต้องรอจนเสียงเรียกร้องของแฟนๆทะลักล้นจอ ถึงจะยื่นมือเข้ามาถ่ายทอดสดให้พวกเราได้ชมกันเต็มๆเสียที อย่างไรก็ตาม อย่างน้อย หวังว่าในอนาคต เราจะผู้ใจดีอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ

3. เคลิ้มไปกับสาวหล่อ-สาวสวย แต่ละชาติ

แน่นอนว่า 4 ห้องหัวใจของแฟนวอลเลย์ชาวไทย มอบให้พวกเธอทุกคนอยู่แล้ว แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า ผู้เล่นอีกหลายๆชาติในทัวร์นาเมนต์ครั้งนี้ ทั้งรูปร่าง หน้าตา เห็นแล้วมันน่าหยิก หน้าหยอกไม่น้อย โดยเฉพาะสาวจากญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ที่ถูกอกถูกใจ หนุ่มๆสาวๆ อย่างเราคนเอเชียกันหลายนาง นอกจากนี้ ฝีมือการตบของพวกเธอก็เด็ดขาดฉกาจฉกรรจ์อีกด้วย

4. บ่นเสียดายความสูงเป็นรองคู่แข่ง

อีกหนึ่งปัจจัยที่มีส่วนสำคัญไม่น้อยที่ทำให้ทีมวอลเลย์สาวไทยไปไม่ถึงดวงดาว ส่วนหนึ่งก็มาจากความสูงเฉลี่ยของผู้เล่น ที่เป็นรองคู่ต่อสู้บิ๊กอย่างๆ จีน, เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น หากพูดในเรื่องของฝีไม้ลายมือ รับรองว่า สาวไทยไม่เป็นรองใครอยู่แล้ว แต่ประเด็นเรื่องความสูง น่าจะเป็นตัวแปรที่ทำให้ความแตกต่างเกิดขึ้นไม่มากก็น้อย และนำไปสู่การตั้งคำถามว่า ทำไม ผู้เล่นเก่งๆ ร่างกายสูงๆ เฉลี่ยสัก 190 ซม. ของไทย มันถึงหายากเหมือนงมเข็มในมหาสมุทรซะเหลือเกิน นึกแล้วก็อดสงสารดีเอ็นเอเตี้ย-สั้น ของผองเราชาวไทยเสียจริงๆ

5. ชื่นชมลีลาสำนวนการพากษ์ของคุณพิษณุ นิลกลัด

เชื่อได้ว่า กระแสวอลเลย์บูมในครั้งนี้ ส่วนหนึ่งก็มาจากการพากษ์เกมที่ได้อรรถรส เร้าใจจากพิธีกร ผู้ประกาศข่าว จอมเก๋าผู้นี้ ซึ่งทำให้แฟนๆได้เพลิดเพลินไปกับเกม และสำนวนที่เฉียบคม แปลกใหม่ ไม่มีใครเหมือน อย่างเช่น ลูกตบโอท็อป ซึ่งจะใช้เรียกลูกตบของ ปลื้มจิตร์ ถินขาว หรือ ดูเกมอย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูกรรมการด้วย ใช้ตอนที่การตัดสินของกรรมการค้านสายตาในจังหวะที่กำกึ่ง หรือ ห้ามเลือด ใช้ในสถานการณ์ที่สกอร์ทีมไหลให้กับคู่ต่อสู้ต่อเนื่อง เป็นต้น

6. ถึงแพ้แต่ก็ชนะใจคนดู

เป็นอีกหนึ่ง วลีเด็ด ที่แฟนกีฬาเกือบทั้งหมด แสดงต่อ ทีมลูกยางสาวไทย ยามใดคว้าชัยชนะได้ ก็นับว่าเป็นเรื่องน่ายินดี แต่หากยามใด ต้องประสบพบกับความพ่ายแพ้ พวกเราก็จะกล่าวให้กำลังใจพวกเธอตลอดมา เพราะผลงานที่เราเห็น มันไม่สามารถที่จะตำหนิสาวๆและทีมงานทุกคนได้เลย ทุกคนสู้กันอย่างเต็มที่ เต็มกำลัง และนั่นทำให้เรายังคงให้การสนับสนุนพวกเธอต่อไป ไม่ว่าผลการแข่งขันจะออกมาเป็นเช่นไรก็ตาม

7. ดันลีกอาชีพบูมเหมือนฟุตบอล

ขนาดกีฬาฟุตบอล ที่ไม่เคยแม้จะไปถึงระดับโลก หรือแค่ระดับเอเชีย ก็คางเหลืองเต็มที่ ยังได้รับความนิยมอย่างล้นหลาม สำหรับ ศึกลูกหนังไทยพรีเมียร์ลีก ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา แล้วทำไม กีฬาวอลเลย์บอล ที่ประสบความสำเร็จมากอย่างมากมาย จะผลักดันลีกให้ได้รับความนิยมเหมือนอย่างฟุตบอลบ้างไม่ได้ ดังนั้น แฟนกีฬาหลายคน หมายมั่นปั่นมือว่า ต่อจากนี้ ศึกวอลเลย์บอลลีกอาชีพ ที่เริ่มตั้งไข่มาได้ปีสองปี จะเป็นรูปเป็นร่าง และทำให้วอลเลย์บอล กลายเป็นอีกหนึ่ง กีฬาที่คนไทย ติดตามชมไม่แพ้ฟุตบอล บ้างเหมือนกัน


8. เตรียมรวมพลไปรับสาวๆ ที่สุวรรณภูมิ

ไม่เพียงแค่แฟนคลับ แต่สาวกของทีมวอลเลย์สาวไทย ทั้งมีสังกัด และไม่มีสังกัด ก็เริ่มระดมพลพรรค พรรคพวก เดินทางไปต้อนรับ ฮีโร่ของเรา กันที่สนามบิน สุวรรณภูมิ ในวันเสาร์ที่ 24 ก.ย.นี้ เวลา ราวๆ 5 ทุ่ม กันแล้ว และเชื่อว่า ในคืนวันนั้น สนามบิน จะต้องแตก เพราะเสียงกรี๊ด เสียงเชียร์ ของแฟนๆกีฬาจะดังกึกก้องไปทั่วทั้งอาคารผู้โดยสารแน่นอน

9. ติดตามทัวร์นาเมนต์ต่อไป

แม้ว่าจะอดคว้าตั๋วไปลุย โอลิมปิกเกมส์ 2012 ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ หลังจากได้เพียงอันดับ 4 ศึกชิงแชมป์เอเชีย 2011 แต่ แฟนกีฬาก็ยังได้ตามลุ้นพวกเธอได้อีกครั้ง ในศึกวอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์โลก 2011 ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ 8-14 ต.ค.นี้ จากนั้น ในปีหน้า ศึกเวิลด์กรังด์ ปรีซ์, คัดเลือกโอลิมปิก ที่ญี่ปุ่น และเอเชียน คัพ ก็ยังรออยู่ เรียกว่า ถ้ารักกันจริง ก็ต้องเอาใจช่วยกันต่อไป

10. แฟนกีฬาปลาบปลื้ม ในหลวงทอดพระเนตรเกมวอลเลย์สาวไทย

กลายเป็นที่กล่าวขวัญไปทั่ว หลังจากมีคนตาดีเห็นผู้เล่นทีมวอลเลย์หญิงของไทย โพสต์ข้อความเปิดเผยเหตุการณ์นี้ ที่สร้างความประทับใจและตื้นตันใจไปทั่วประเทศ ในเกมรอบรองชนะเลิศที่ สาวไทย พบกับ ญี่ปุ่น ก่อนพ่ายไปแบบชนะใจทุกคน 2-3 เซต และทำเอาถึงขนาดบางคน น้ำตาซึมกันเลยทีเดียว ไม่ใช่เพราะความปราชัย แต่เป็นเพราะซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านนั้นเอง

twitter : sport_thairath http://www.thairath.co.th/content/sport/204057

วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2554

ทางเลือก...ที่นักตบลูกยางสาวทีมชาติไทยไม่อยากเลือกแค่หนึ่ง

************** คลิป วอลเลย์บอลหญิง ไทย VS ไต้หวัน **************

< เซ็ท 1 ตอน 1

< เซ็ท 1 ตอน 2

< เซ็ท 2 ตอน 1

< เซ็ท 2 ตอน 2

< เซ็ท 3 ตอน 1

< เซ็ท 3 ตอน 2

ทางเลือก...ที่นักตบลูกยางสาวทีมชาติไทยไม่อยากเลือกแค่หนึ่ง

ทางเลือก...ที่นักตบลูกยางสาวทีมชาติไทยไม่อยากเลือกแค่หนึ่ง
กรุงเทพ, 14 กันยายน – ข่าวดี! ไทยมีสิทธิ์แข่งขันซีเกมส์ที่อินโดนีเซียแน่นอนแล้ว ข่าวร้าย! ไทยอาจจะต้องเลือกว่าจะส่งทีมชุดที่ดีที่สุดไปแข่งซีเกมส์หรือส่งชุดทีมบีไปแข่งแทน ในเมื่อทีมเอซึ่งเป็นชุดที่ดีที่สุดซึ่งเป็นทีมชาติชุดปัจจุบันที่กำลังลงแข่งขันป้องกันแชมป์ในรายการวอลเลย์บอลหญิงชิงชนะเลิศแห่งเอเซียครั้งที่ 16 ที่ประเทศไต้หวันอยู่ในขณะนี้มีแนวโน้มว่าจะต้องเลือกไปแข่ง World Cup ที่ประเทศญี่ปุ่นแทน

หลังจากที่เฝ้ารอคอยกันมานานว่านักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยจะมีโอกาสได้ไปร่วมแข่งขันมหกรรมกีฬาซีเกมส์ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งจะเริ่มเปิดฉากการแข่งขันอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายนเป็นต้นไป ได้หรือไม่ เพราะมีกระแสข่าวมาตลอดเวลาว่ามีประเทศที่สนใจเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มประเภททีมหญิงแค่เพียงสามทีมคือไทย แชมป์เก่ามายาวนานถึง 15 ครั้ง (1977, 1979, 1981, 1983, 1985, 1987, 1989, 1991 (1993 ไทยได้รองแชมป์), 1995, 1997 (1999 บรูไนไม่จัด), 2001, 2003, 2005, 2007, 2009), เวียตนาม รองแชมป์สี่สมัยซ้อน (2003, 05, 07, 09) และเจ้าภาพอินโดนีเซีย

ล่าสุด ร.ท.ชาญฤทธิ์ วงศ์ประเสริฐ อุปนายกสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยและหนึ่งในคณะกรรมรการบริหารสมาพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเอเซียหรือเอวีซีและสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติหรือเอฟไอวีบี ได้ยืนยันมาล่าสุดเมื่อช่วงเย็นของวันที่ 14 กันยายน 2554 ว่าเมียนม่าร์ ซึ่งจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ในปี 2556 ต่อจากอินโดนีเซีย ได้ตกลงใจยืนยันแน่นอนแล้วว่าจะขอส่งนักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติของตนลงทำการแข่งขันด้วย ส่งผลให้ในตอนนี้มีสี่ทีมแล้วที่ยืนยันเข้าร่วมการแข่งขัน ซึ่งส่งผลให้ตามระเบียบการจัดการแข่งขัน ของสมาพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเอเซีย ซีเกมส์คราวนี้สามารถจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มประเภททีมหญิงได้อย่างแน่นอน

อย่างไรก็ตามการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ในครั้งนี้ ประเทศเจ้าภาพคืออินโดนีเซียได้ประกาศจัดการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 11-22 พฤศจิกายน ในขณะที่การแข่งขัน FIVB World Cup ประเภททีมหญิงที่ประเทศญี่ปุ่นนั้น จะจัดระหว่างวันที่ 4-18 พฤศจิกายน ซึ่งถือว่าอาจจะมีการแข่งขันที่ทับกันอยู่หลายวันเลยที่เดียว และหากเป็นเช่นนี้ไทยก็อาจจะต้องมาพิจารณากันอีกทีว่าควรจะส่งทีมที่ดีที่สุดไปในรายการใด ในเมื่อนายเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร “โค้ชอ๊อด” หัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติไทยเองก็เคยออกมากล่าวว่าการแข่งขันซีเกมส์ เป็นรายการที่นักตบลูกยางสาวทีมชาติไทยต้องการจะมีส่วนในการแข่งขันมากรายการหนึ่ง เพราะถือว่าได้มีโอกาสเล่นให้กับทีมชาติ เป็นเกียรติภูมิของประเทศ และมีโอกาสได้ช่วยชาติด้วยในส่วนที่มีการนับเหรียญทอง ซึ่งส่งผลในการครองเจ้าเหรียญทองมหกรรมกีฬาซีเกมส์ด้วย

สำหรับการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงชนะเลิศแห่งเอเชีย ณ ประเทศไต้หวันในขณะนี้นั้น มีความเป็นไปได้สูงที่นักตบลูกยางสาวไทยจะติดอันดับหนึ่งในสาม แต่หากว่าทีมญี่ปุ่นพลิกล๊อคคว้าแชมป์เอเชีย ทีมที่ได้อันดับสองก็จะได้สิทธิ์ไปแข่งขัน World Cup ที่ประเทศญี่ปุ่นในฐานะแชมป์เอเชียทันที และทีมที่ได้อันดับรองลงมาอีกทีมก็จะได้สิทธิ์เหมือนกันในฐานะรองแชมป์ (ซึ่งเมือเปรียบเทียบอันดับโลกกับทีมจากทวีปอื่น น่าจะมีอันดับโลกดีกว่า และได้สิทธ์ไปแข่งขัน World Cup)

อย่างไรก็ตามแต่หากทีมญี่ปุ่นได้รองแชมป์เอเซีย ทีมที่ได้แชมป์กับอีกทีมที่ได้อันดับสามก็จะมีสิทธิ์ไปแข่งขัน World Cup ที่ประเทศญี่ปุ่นทันทีเหมือนกัน เพราะญี่ปุ่นได้ไปแข่งขันโดยอัตโนมัติอยู่แล้วในฐานะประเทศเจ้าภาพ

ทั้งนี้และทั้งนั้น ไทยก็ต้องทำผลงานให้ดีที่สุดในการแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งเอเชีย ระหว่าง 15-23 กันยายนนี้ ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อจะได้มั่นใจว่า น่าจะติดอันดับ 1-3 และจะได้คว้าสิทธิ์ไปแข่งขัน World Cup ที่ประเทศญี่ปุ่นต่อไป

และถ้าหากนักตบลูกยางสาวไทย คว้าสิทธิ์ไปแข่งขัน World Cup ได้จริงๆแล้วล่ะก็ คงต้องมานั่งพิจารณากันอีกทีว่าจะส่งผู้เล่นชุดที่ดีที่สุดไปรายการไหนดี ในเมื่อทั้งซีเกมส์ที่อินโดนีเซียและ World Cup ที่ญี่ปุ่นต่างก็มีความสำคัญกันไปคนละอย่าง ซีเกมส์เป็นเรื่องของชาติล้วนๆ เป็นเกียรติและศักดิ์ศรีที่สั่งสมมานานของนักตบลูกยางสาวไทย ส่วน World Cup ก็เป็นด่านแรกของการคัดเลือกทีมที่มีอันดับดีที่สุดสามทีมไปแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษในปีหน้านี้ด้วย ซึ่งสำหรับโอลิมปิกนั้น ไทยไม่เคยได้ผ่านเข้าไปแข่งขันเลย และหากไทยส่งทีมชาติชุดดีที่สุดไปแข่งขัน World Cup ก็คงจะต้องมั่นใจว่าจะสร้างผลงานให้ดีที่สุด ให้ติดอันดับ 1-3 ให้ได้ เพื่อจะได้คว้าสิทธิ์ไปแข่งโอลิมปิก แต่นั่นก็ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย เพราะเมื่อสมัยที่นักตบลูกยางสาวไทยไปแข่งขัน World Cup เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2007 ที่ประเทศญี่ปุ่นนั้น ไทยทำได้ดีที่สุดแค่อันดับ 10 เท่านั้น

คราวนี้ก็คงต้องล้างกระดานใหม่หมด และกลับมาคิดพิจารณาให้ดีๆว่าหากไทยได้สิทธิ์ไปแข่ง World Cup ไม่ว่าจะเป็นเพราะได้อันดับ 1, 2 หรือ 3 จากทวีปเอเชียก็ตาม ไทยจะเลือกส่งใครไปแข่งขัน ในเมื่อวอลเลย์บอลซีเกมส์ก็จัดแข่งในเวลาเดียวกัน และซ้อนกันอยู่ถึงแปดวัน ก็ได้แต่หวังว่าน่าจะมีทางเลือกอื่นที่สวยหรู เป็นทางเลือกที่ดีที่สุดให้กับนักตบลูกยางสาวไทย


ข่าวโดย ปรีชาชาญ วิริยานุภาพพงศ์

ภาพโดย Chalinee Thirasupa

The Asian Senior Men's Volleyball Championship

Tehran, Iran, September 21, 2011 – The Asian Senior Men's Volleyball Championship comes back to the city of Tehran after 12 years since 1999. The biennial competition sets stage for the top men's volleyball teams in Asia.
The 16th edition showcases 16 teams who will vie for the much-coveted Asian Senior Men's Championship trophy and the ticket to the Men's World to be held in November in Japan.
Australia, China, Japan and Korea are the only four countries to have participated in all 16 tournaments – each team has won at least a gold medal. Defending champions Japan has been the most dominant team in the last 15 editions of the Asian Championship with 7 Gold medals followed by Korea (4), China (3) and Australia (1).
Korea has won a total of 14 medals making it as the most consistent podium finisher since 1975. Only six teams have reached the podium in the Asian Men's Championship: Japan, Korea, China, Australia, Iran and Kazakhstan.
Japan, China and Korea are the only countries to have won back-to-back titles: Japan (1983 and 1987), China (1997 and 1999) and Korea (2001 and 2003).
Australia, Korea, Thailand and Iran have hosted the Championship at least once: Australia (Melbourne in 1995 and Perth in 1991), Korea (Seoul in 1989 and 1995, and Changwon in 2001), Thailand (Nakhon Ratchasima in 1993 and Suphanburi in 2005), and Iran (Tehran in 1999 and 2011).
Top three finishers year by year:
1975: Japan (JPN), Korea (KOR), China (CHN)
1979: CHN, KOR, JPN
1983: JPN, CHN, KOR
1987: JPN, CHN, KOR
1989: KOR, JPN, CHN
1991: JPN, KOR, CHN
1993: KOR, Kazakhstan (KAZ), JPN
1995: JPN, CHN, KOR
1997: CHN, JPN, Australia (AUS)
1999: CHN, AUS, KOR
2001: KOR, AUS, JPN
2003: KOR, CHN, Iran (IRI)
2005: JPN, CHN, KOR
2007: AUS, JPN, KOR
2009: JPN, IRI, KOR
http://www.asianvolleyball.org/Volleyball/2011-09-21/362875.htmlTehran, Iran, September 21, 2011 – The Asian Senior Men's Volleyball Championship comes back to the city of Tehran after 12 years since 1999. The biennial competition sets stage for the top men's volleyball teams in Asia.
The 16th edition showcases 16 teams who will vie for the much-coveted Asian Senior Men's Championship trophy and the ticket to the Men's World to be held in November in Japan.
Australia, China, Japan and Korea are the only four countries to have participated in all 16 tournaments – each team has won at least a gold medal. Defending champions Japan has been the most dominant team in the last 15 editions of the Asian Championship with 7 Gold medals followed by Korea (4), China (3) and Australia (1).
Korea has won a total of 14 medals making it as the most consistent podium finisher since 1975. Only six teams have reached the podium in the Asian Men's Championship: Japan, Korea, China, Australia, Iran and Kazakhstan.
Japan, China and Korea are the only countries to have won back-to-back titles: Japan (1983 and 1987), China (1997 and 1999) and Korea (2001 and 2003).
Australia, Korea, Thailand and Iran have hosted the Championship at least once: Australia (Melbourne in 1995 and Perth in 1991), Korea (Seoul in 1989 and 1995, and Changwon in 2001), Thailand (Nakhon Ratchasima in 1993 and Suphanburi in 2005), and Iran (Tehran in 1999 and 2011).
Top three finishers year by year:
1975: Japan (JPN), Korea (KOR), China (CHN)
1979: CHN, KOR, JPN
1983: JPN, CHN, KOR
1987: JPN, CHN, KOR
1989: KOR, JPN, CHN
1991: JPN, KOR, CHN
1993: KOR, Kazakhstan (KAZ), JPN
1995: JPN, CHN, KOR
1997: CHN, JPN, Australia (AUS)
1999: CHN, AUS, KOR
2001: KOR, AUS, JPN
2003: KOR, CHN, Iran (IRI)
2005: JPN, CHN, KOR
2007: AUS, JPN, KOR
2009: JPN, IRI, KOR

http://www.asianvolleyball.org/Volleyball/2011-09-21/362875.html

วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2554

รายชื่อนักกีฬา

รายชื่อนักกีฬา ตามหมายเลข
1.วรรณา บัวแก้ว (นา, ยายนา)
2.ปิยะนุช แป้นน้อย (แป้น)
5.ปลื้มจิตร์ ถินขาว (หน่อง)
6.อรอุมา สิทธิรักษ์ (ออน)
8.อุทัยวรรณ แก่นสิงห์ (แนน)
9.วณิชยา หล่วงทองหลาง (แป้ง)
10.วิลาวัณย์ อภิญญาพงศ์ (กิ๊ฟ)
11.อำพร หญ้าผา (แจ๊ค)
12.ฐาปไพพรรณ ไชยศรี (บะหมี่)
13.นุศรา ต้อมคำ (นุศ, ซาร่า)
15.มลิกา กันทอง (ปู)
17.กมลพร สุขมาก (ยุ้ย)

สายการแข่งขัน จัดตามผลการแข่งขันครั้งที่แล้ว (2009)

ผลการแข่งขัน
15 ก.ย.
ไทเป 3-0 อินโดนีเซีย 25-8, 25-12, 25-15
เวียดนาม 0-3 ไทย 15-25, 25-27, 8-25
คาซัคสถาน 3-1 อินเดีย 22-25, 27-25, 25-19, 25-10
เกาหลีเหนือ 0-3 จีน 19-25, 15-25, 15-25
ศรีลังกา 0-3 เกาหลีใต้ 9-25, 11-25, 6-25
ญี่ปุ่น 3-0 เติร์กเมนิสถาน *

16 ก.ย.
อิหร่าน 0-3 ไทเป 13-25, 20-25, 16-25
ออสเตรเลีย 1-3 เวียดนาม 25-21, 24-26, 20-25, 20-25
เกาหลีเหนือ 3-1 คาซัคสถาน 19-25, 25-20, 25-23, 25-21
จีน 3-0 อินเดีย 25-20, 25-15, 25-12
เติร์กเมนิสถาน 0-3 เกาหลีใต้*
ญี่ปุ่น 3-0 ศรีลังกา 25-9, 25-12, 25-5

17 ก.ย. เวลาประเทศไทย
9.00 น. อินโดนีเซีย 2-3 อิหร่าน 25-20, 27-29, 24-26, 25-23, 11-15
11.00 น. อินเดีย 1-3 เกาหลีเหนือ 25-17, 21-25, 9-25, 22-25
13.00 น. ศรีลังกา - เติร์กเมนิสถาน*
15.00 น. ไทย 3-0 ออสเตรเลีย 25-11, 25-19, 25-19
17.00 น. คาซัคสถาน 0-3 จีน 14-25, 17-25, 13-25
19.00 น. เกาหลีใต้ 2-3 ญี่ปุ่น 25-23, 15-25, 25-18, 23-25, 5-15

18 ก.ย. เวลาประเทศไทย
9.00 น. อินโดนีเซีย - อินเดีย
11.00 น. ออสเตรเลีย - เติร์กเมนิสถาน*
13.00 น. ไทย - เกาหลีใต้
15.00 น. ญี่ปุ่น - เวียดนาม
17.00 น. ไต้หวัน - เกาหลีเหนือ
19.00 น. จีน - อิหร่าน

19 ก.ย. เวลาประเทศไทย
9.00 น. อินโดนีเซีย - คาซัคสถาน
11.00 น. ออสเตรเลีย - ศรีลังกา
13.00 น. เวียดนาม - เกาหลีใต้
15.00 น. ไทย - ญี่ปุ่น
17.00 น. อิหร่าน - เกาหลีเหนือ
19.00 น. ไต้หวัน - จีน



*เติร์กเมนิสถาน ถอนทีม

ช่อง 7 สี ถ่ายทอดสดทุกนัดที่ไทยแข่ง
ชมช่อง 7 ได้ที่ลิ้งค์ www.bugaboo.tv
ลิ้งค์ถ่ายทอดสดอื่นๆ
http://www.sportlemon.tv/c-11.html
http://www.lshunter.tv/volleyball-live-streaming-video.html
http://www.thongma.com/
cctv5 คู่จีน
VTC3 (ไม่แน่ใจว่าถ่ายทุกคู่หรือเปล่านะคะ)


ข้อมูลผลการแข่งขันดูเพิ่มเติมได้ที่นี่ http://en.wikipedia.org/wiki/2011_Asian_Women's_Volleyball_Championship

คลิปการแข่งขัน ไทย-เวียดนาม วันที่ 15 ก.ย. http://volleyballthailand.com/forum/index.php/topic,4760.0.html
คลิป ไทย-ออสเตรเลีย 17 ก.ย. http://volleyballthailand.com/forum/index.php/topic,4789.0.html
ภาพจากสนามที่ไต้หวันโดยคุณ ted_chen http://volleyballthailand.com/forum/index.php/topic,4758.0.html

รายชื่อนักกีฬา ตามหมายเลข 1.วรรณา บัวแก้ว (นา, ยายนา) 2.ปิยะนุช แป้นน้อย (แป้น) 5.ปลื้มจิตร์ ถินขาว (หน่อง) 6.อรอุมา สิทธิรักษ์ (ออน) 8.อุทัยวรรณ แก่นสิงห์ (แนน) 9.วณิชยา หล่วงทอง

รายชื่อนักกีฬา ตามหมายเลข
1.วรรณา บัวแก้ว (นา, ยายนา)
2.ปิยะนุช แป้นน้อย (แป้น)
5.ปลื้มจิตร์ ถินขาว (หน่อง)
6.อรอุมา สิทธิรักษ์ (ออน)
8.อุทัยวรรณ แก่นสิงห์ (แนน)
9.วณิชยา หล่วงทองหลาง (แป้ง)
10.วิลาวัณย์ อภิญญาพงศ์ (กิ๊ฟ)
11.อำพร หญ้าผา (แจ๊ค)
12.ฐาปไพพรรณ ไชยศรี (บะหมี่)
13.นุศรา ต้อมคำ (นุศ, ซาร่า)
15.มลิกา กันทอง (ปู)
17.กมลพร สุขมาก (ยุ้ย)


สายการแข่งขัน จัดตามผลการแข่งขันครั้งที่แล้ว (2009)

ผลการแข่งขัน
15 ก.ย.
ไทเป 3-0 อินโดนีเซีย 25-8, 25-12, 25-15
เวียดนาม 0-3 ไทย 15-25, 25-27, 8-25
คาซัคสถาน 3-1 อินเดีย 22-25, 27-25, 25-19, 25-10
เกาหลีเหนือ 0-3 จีน 19-25, 15-25, 15-25
ศรีลังกา 0-3 เกาหลีใต้ 9-25, 11-25, 6-25
ญี่ปุ่น 3-0 เติร์กเมนิสถาน *

16 ก.ย.
อิหร่าน 0-3 ไทเป 13-25, 20-25, 16-25
ออสเตรเลีย 1-3 เวียดนาม 25-21, 24-26, 20-25, 20-25
เกาหลีเหนือ 3-1 คาซัคสถาน 19-25, 25-20, 25-23, 25-21
จีน 3-0 อินเดีย 25-20, 25-15, 25-12
เติร์กเมนิสถาน 0-3 เกาหลีใต้*
ญี่ปุ่น 3-0 ศรีลังกา 25-9, 25-12, 25-5

17 ก.ย. เวลาประเทศไทย
9.00 น. อินโดนีเซีย 2-3 อิหร่าน 25-20, 27-29, 24-26, 25-23, 11-15
11.00 น. อินเดีย 1-3 เกาหลีเหนือ 25-17, 21-25, 9-25, 22-25
13.00 น. ศรีลังกา - เติร์กเมนิสถาน*
15.00 น. ไทย 3-0 ออสเตรเลีย 25-11, 25-19, 25-19
17.00 น. คาซัคสถาน 0-3 จีน 14-25, 17-25, 13-25
19.00 น. เกาหลีใต้ 2-3 ญี่ปุ่น 25-23, 15-25, 25-18, 23-25, 5-15

18 ก.ย. เวลาประเทศไทย
9.00 น. อินโดนีเซีย - อินเดีย
11.00 น. ออสเตรเลีย - เติร์กเมนิสถาน*
13.00 น. ไทย - เกาหลีใต้
15.00 น. ญี่ปุ่น - เวียดนาม
17.00 น. ไต้หวัน - เกาหลีเหนือ
19.00 น. จีน - อิหร่าน

19 ก.ย. เวลาประเทศไทย
9.00 น. อินโดนีเซีย - คาซัคสถาน
11.00 น. ออสเตรเลีย - ศรีลังกา
13.00 น. เวียดนาม - เกาหลีใต้
15.00 น. ไทย - ญี่ปุ่น
17.00 น. อิหร่าน - เกาหลีเหนือ
19.00 น. ไต้หวัน - จีน



*เติร์กเมนิสถาน ถอนทีม

ช่อง 7 สี ถ่ายทอดสดทุกนัดที่ไทยแข่ง
ชมช่อง 7 ได้ที่ลิ้งค์ www.bugaboo.tv
ลิ้งค์ถ่ายทอดสดอื่นๆ
http://www.sportlemon.tv/c-11.html
http://www.lshunter.tv/volleyball-live-streaming-video.html
http://www.thongma.com/
cctv5 คู่จีน
VTC3 (ไม่แน่ใจว่าถ่ายทุกคู่หรือเปล่านะคะ)


ข้อมูลผลการแข่งขันดูเพิ่มเติมได้ที่นี่ http://en.wikipedia.org/wiki/2011_Asian_Women's_Volleyball_Championship

คลิปการแข่งขัน ไทย-เวียดนาม วันที่ 15 ก.ย. http://volleyballthailand.com/forum/index.php/topic,4760.0.html
คลิป ไทย-ออสเตรเลีย 17 ก.ย. http://volleyballthailand.com/forum/index.php/topic,4789.0.html
ภาพจากสนามที่ไต้หวันโดยคุณ ted_chen http://volleyballthailand.com/forum/index.php/topic,4758.0.html